โดยการแข่งขันในปีนี้ เป็นความร่วมมือของสถาบันบัณฑิตฯ ศศินทร์ กับ SCGCอีกทั้งยังได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิมากประสบการณ์จากหลากหลายภาคส่วน อาทิRobert Lomnitz,Partner – Xpdite Capital Partners, Director of Bangkok Venture Club, Paul Ark,Partner & Head of ESG – Gobi Partnersและ Dr. Andrew Stotz,CEO – A. Stotz Investment Researchมาร่วมเป็นกรรมการตัดสิน คัดเลือกเฟ้นหาสุดยอดทีมที่ดีที่สุดที่คู่ควรกับรางวัลเกียรติคุณพระราชทานH.M. The King’s Awardจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รางวัลเกียรติคุณพระราชทานH.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Sustainability Award จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรางวัลเงินสดรวมมูลค่า 46,000เหรียญสหรัฐ หรือราว 1,500,000บาท
สำหรับ 20ทีมสุดท้ายที่ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศ Global Competition ได้แก่
ทีมAquaSnacksจาก Bangladesh University of Engineering and Technologyประเทศบังกลาเทศ
ทีม Bone Voyage จาก National Yang Ming Chiao Tung University ประเทศไต้หวัน
ทีม Castomize Technologies จาก Singapore University of Technology and Design ประเทศสิงคโปร์
ทีม cWalletจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย
ทีม DolFinnจาก American University of Phnom Penh ประเทศกัมพูชา
ทีม ENENT จาก Institute of Business Administration, Karachi ประเทศปากีสถาน
ทีม FactCertifiedจาก University of Tsukuba ประเทศญี่ปุ่น
ทีม FISHYU จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
ทีม GreeneAcres Processing จาก Cornell University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ทีม Headfirst จาก University of Waterloo ประเทศแคนนาดา
ทีม Reborn+ จาก Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา
ทีม RingMasterจาก National Yang Ming Chiao Tung University ประเทศไต้หวัน
ทีม SERICAELจาก National Chengchi University ประเทศไต้หวัน
ทีม Surety จาก Singapore University of Social Sciencesประเทศสิงคโปร์
ทีม Team Washwagonจาก Nanyang Business Schoolประเทศสิงคโปร์
ทีม the moonbeam co. จาก National University of Singaporeประเทศสิงคโปร์
ทีม Thrifty จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
ทีม UNCL Co จากUniversity of Arkansas ประเทศสหรัฐอเมริกา
ทีม Vision X จากNational Yang Ming Chiao Tung University ประเทศไต้หวัน
ทีม Zeuron.ai จาก Indian Institute of Science ประเทศอินเดีย
ภายในงานประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก คือ 1) FORUM จากวิทยากรระดับท๊อปทั้งชาวไทยและต่างประเทศกว่า 20 ท่าน ตลอด 3 วันเต็ม ภายใต้ 3 หัวข้อหลัก คือ BRIDGING PUBLIC & PRIVATE PARTNERSHIP, ACCELERATING INNOVATION BUSINESS & PARTNERSHIP และ HACKING FOR NEW INVESTMENT & GROWTH MODEL ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อสัมมนาที่น่าสนใจในหลากหลายประเด็น กว่า 30 หัวข้อ เช่น
– “Digital Innovation in Public Sector – What made Estonia becoming a leader in digital living” โดย Mr. Siim Sikkut, Former Chief Information Officer, Government of Estonia
– “นวัตกรรมด้านสังคมเพื่อโลกในอนาคต” (Social Innovation: Shaping the Future) โดย Mr. Renaud Meyer, Resident Representative, UNDP
– ความคิดสร้างสรรค์และทุนทางวัฒนธรรม : ขุมพลังขับเคลื่อนนวัตกรรมไทย (Creativity & Cultural Capital as Thailand’s Innovation Powerhouse
– Unlocking the Power of Festivals: Driving Economic Growth and Cultural Engagement โดย สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน)
– “Predicting the Unpredictable for Resilient Transformation” โดย Prof. Rene Rohrbeck, Director of Chair for Foresight, Innovation and Transformation, EDHEC Business School
– Keys to success for innovative organizations “ถอดรหัสความสำเร็จองค์กรนวัตกรรม”
“ที่ผ่านมาทางห้างฯ มีโปรเจกท์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่สำคัญและประสบความสำเร็จในการดำเนินการจนถึงปัจจุบันมากมาย เช่น Say No to Plastic Bags ที่สามารถงดการแจกถุงพลาสติกได้สำเร็จ 100% การสนับสนุนสินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่าง Central Edition ที่รวบรวมผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์โดยชุมชนต่างๆ ในไทย พร้อมจับมือกับ 24 ไทยดีไซเนอร์รุ่นใหม่นำวัสดุเหลือใช้กลับมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ควบคู่กับการใช้ทักษะของคนในชุมชน เพื่อสร้างและกระจายรายได้สู่ชุมชน และล่าสุดกับโปรเจกท์ Organic Zone ในแผนกบิวตี้ที่ห้างเซ็นทรัลชิดลม ซึ่งถือเป็นครั้งแรกของห้างฯ ในไทยที่สนับสนุนผลิตภัณฑ์ความงามที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง การประหยัดพลังงานขานรับกับเทรนด์การบริโภค-อุปโภคในห้างฯ อย่างที่จอดรถยนต์พลังงานไฟฟ้าพร้อม EV Charger การติด Solar Rooftop และการใช้ไฟ LED เพื่อลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถึง การตกแต่งห้างฯ ที่มุ่งเน้นใช้วัสดุท้องถิ่นและธรรมชาติเพื่อลดการใช้พลาสติกให้ได้มากที่สุด
เตรียมพบกับการแสดงดนตรีระดับโลกที่กำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทยที่คอดนตรีคลาสสิกไม่ควรพลาดเฉลิมฉลอง 25 ปี งานมหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติกรุงเทพฯ (Bangkok’s 25th International Festival of Dance & Music)พร้อมเปิดม่านอุ่นเครื่องด้วยการแสดงจากวงออร์เคสตราที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์“ลูเซิร์น ซิมโฟนี ออร์เคสตรา”ที่ตั้งใจนำบทเพลงยิ่งใหญ่สำหรับไวโอลินบทเดียวของเบโธเฟน ไวโอลินคอนแชร์โต (Violin Concerto in D major, Op. 61)ที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ.1805 ซึ่งเป็นปีก่อตั้งวงลูเซิร์นฯ พร้อมกับอีกหนึ่งบทเพลงของ เบโธเฟน ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดเพลงหนึ่งของโลก ซิมโฟนี หมายเลข 5 (Symphony No.5 in C minor, Op.67) ในชื่อการแสดง “Lucerne Symphony Orchestra : A Night with Beethoven”